Monday, March 5, 2007

ภาพประกอบข่าวโทรทัศน์



แหล่งข่าว ททท จังหวัดนครศรีธรรมราช








สถาภาพของชาวปากพนัง







เรื่อเล็กออกหาปาก







คอนโดนางแอน





การดำรงชีวติของชาวบ้าน







การหาปาลด้วยยอ






เขื่อนเก็บน้ำของปากพนัง








เรื่อประมง







เรือโดยสาร







ที่ทำการของล่แม่น้ำปากพนัง






เรือโดยสารกำลังจะเทียบท่า







คนโดยสารลงจากเรือโดยสาร






เรือโดยสารเล็ก







เรือประมงเทียบท่า



เรรือประมงออกหาปาล

Sunday, March 4, 2007

ข่าวโทรทัศน์

หัวข้อข่าวท่องเที่ยวสืบสานโครงการในหลวง
ความยาว1.50 นาที่ ความยาว โปรย00.15 น.ความยาวเทป 1.50 นาที่

ภาพ

เสียง

ผู้สื่อข่าว

CG

สุกัญญา วรรณพิทักษ์

ผู้สื่อข่าว

ททท.นครศรีธรรมราช สืบสานพระราชดำริจัดการเปิดทองหลังพระท่องเที่ยวสืบสานโครงการในหลวง สร้างประตูระบายน้ำเพื่อพลิกฟื้นลุ่มแม่น้ำปากพนัง

นายวิโชค อ่างมณี ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยกับผู้สื่อข่รวสาธารณะว่า ในปี พ.ศ.2550นี้ ภายหลังจากที่โครงการลุ่มแม่น้ำปากพนังได้รับคัดเลือกจากโครงการพระราชดำทั่วประเทศให้เป็นโครงการท่องเที่ยวที่มีความสำคัญของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริ เปิดโครงการเปิดทองหลังพระ ท่องเที่ยวสืบสานท่องเที่ยวในหลวงขึ้นเพื่อพลิกฟื้นลุ่มแม่น้ำปากพนังโดยการสร้างประตูระบายน้ำป้องกันน้ำทะลักไม่ให้ไหลเข้าและเก็บน้ำจืดไว้ใช้ โดยพระราชทานนามว่า ประตูระบายอุทกวิภาชประสิทธิ

เทป-อ่านต่อ

แทรกเสียง แหล่งข่าว

นายวิโชค อ่างมณี ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจังหวัดนครศรีธรรมราช

-แทรกเสียงแหล่งข่า-

เริ่มที่".................

จบที่.......................

นายวิโชติกล่าวด้วยว่า โครงการดังกล่าว จัดขึ้นในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนม์พรรษาครบ 80 พรรษา มีการนำเที่ยวชมโครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำปากพนัง ตำหนักประทับแรม ดูปล้องโรงสีข้าวโบราณ คอนโดนกนางแอ่น ล่องเรือกินข้าวชมอ่าวปากพนัง และเปิดให้ชมประวัติศาสตร์ ผู้ชมและความเก่าแก่ทางวัฒนธรรม ซึ่งบริษัทท่องเที่ยวหลายแห่งได้เข้าร่วมโครงการ และมีการจัดกิจกรรมการอบรม ให้กับน้องๆเยาวชนเพื่อเผยแพร่การท่องเที่ยวและให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการลุ่มแม่น้ำปากพนังด้วย

ผู้สื่อข่าว

CG

ผู้สื่อข่าว:สุกัญญา วรรณพิทักษ์

ช่างภาพ:สายวารี ศรีวิมล

สำหรับสภาพเเวดล้อมในลุ่มแม่น้ำปากพนังตั้งแต่อดีตที่ผ่านมานั้นมีความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากปัญหารุกล้ำจากน้ำเค็มการขาดน้ำจืด และน้ำเสีย ร่วมทั้งอุทกภัย ส่งผลให้ราษฎรในลุ่มแม่น้ำปากพนังเกิดการเดือดร้อนในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมาก

สายวารี ศรีวิมล...ถ่ายภาพ

สุกัญญา วรรณพิทักษ์...รายงาน

Friday, March 2, 2007

ข่าววิทยุ

หัวข้อข่าว ท่องเที่ยวสื่บสรนโครงการในหลวง ผู้สื่อข่าว

สุกัญญา วรรณพิทักษ์ รหัส 4711301109

สายข่าว ท่องเที่ยว ความยาวข่าว1.1.5 น. ( /) ข่าวอ่านประกอบเสียง




ททท.นครศรีธรรมราช สือสานพระราชดำริ จัดโครงการเปิดทองหลังพระ ท่องเที่ยวสืบสานโครงการในหลวง สร้างประตูระบายน้ำเพื่อพลิกฟื้นลุ่มแม่น้ำปากพนัง
นายวิโชค อ่างมณี ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเผยกับผู้สื่อข่าวสื่อสาธาราณะว่า ในปี พ.ศ 2550 นี้ ภายหลังจากที่โครงการล่มแม่น้ำปากพนังได้รับการคัดเลือกจากโครงการพระราชดำริทั่วประเทศ ให้เป็นการท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดำริเปิดโครงการเปิดทองหลังพระ ท่องเที่ยวสืบสานโครงการในหลวงขึ้นเพื่อพลิกฟื้นล่มแม่นำปากพนังโดยการสร้างประตูน้ำป้องกันน้ำทะเลไม่ให้ไหลเข้าและเก็บน้ำจืดไว้ใช้ โดยพระราชทานนามว่า ประตูระบายน้ำอุทกวิภาชประสิทธิ
-แทรกเสียงแหล่งข่าว-
เริ่มที่"..................................................
จบที่"..................................................
นายวิโชค กล่าวด้วยว่า โครงการดังกล่าวจัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนม์พรรษาครบ 80 พรรษา มีการนำเที่ยวชมลุ่มแม่นำปากพนัง ตำหนักพักแรม ดูปล้องโรงสีข้าวโบราณ คอนโดนางแอ่น ล่องเรือชมอ่าวปากพนัง และให้ชมประวัติศาสตร์ผู้คนและความเกาแก่ทางวัฒนธรรม ซึ่งบริทัษท่องเที่ยวหลายแห่งได้ข่าวรวมโครงการ และมีการจัดกิจกรรมการอบรมณ์ให้น้องๆ เยาวชนเผยแพร่การท่องเที่ยว และให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการลุ่มแม่น้ำปากพนังด้วย
สุกัญญา วรรณพิทักษ์ ผู้สื่อข่าวสื่อสาธารณะ รายงายจากศูนย์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช

Saturday, January 6, 2007

สารคดีการท่องเที่ยวน้ำตกโยง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ผู้คนนิยมมาเที่ยวกันมากเป็นสานที่ที่โด่งดังทั่วประเทศ อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมากมีน้ำไหลตลอดทั้งปี เป็นน้ำตกที่มีหน้าผาสูงชันมีน้ำไหลลงมาเหมือนเกลียวเชือก ทำให้เกิดแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 30 เมตร ลึกประมาณ 10 เมตร มีชั้นน้ำตก 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสวยงามและร่มรื่นด้วยพรรณไม้มากมายของป่าดิบชื้นผสมป่าดิบเขา เช่น ยาง กระบาก ตะเคียน ก่อนก ก่อเดือย ตามพื้นป่ามีหวายและเฟินต้นที่ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ยังมีปลาอาศัยอยู่หลายชนิดโดยเฉพาะปลาแงะมีจำนวนมาก น้ำตกชั้นที่ 1 ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงประมาณ 300 เมตร









อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 8 องศา 09 /-8 องศา 21/เหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 99 องศา 38/ - 99 องศา 50/ตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 128,125 ไร่ หรือประมาณ 205 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม พื้นที่ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกิ่งอำเภอช้างกลาง และอำเภอ ทิศใต้ ติดต่ออำเภอทุ่งสง ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอลานสกา ทิศตะวันตก ติดต่ออำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอช้างกลาง น้ำตกโยงเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมากมีน้ำไหลตลอดทั้งปี เป็นน้ำตกที่มีหน้าผาสูงชันมีน้ำไหลลงมาเหมือนเกลียวเชือก ทำให้เกิดแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 30 เมตร ลึกประมาณ 10 เมตร มีชั้นน้ำตก 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสวยงามและร่มรื่นด้วยพรรณไม้มากมายของป่าดิบชื้นผสมป่าดิบเขา เช่น ยาง กระบาก ตะเคียน ก่อนก ก่อเดือย ตามพื้นป่ามีหวายและเฟินต้นที่ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ยังมีปลาอาศัยอยู่หลายชนิดโดยเฉพาะปลาแงะมีจำนวนมาก น้ำตกชั้นที่ 1 ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงประมาณ 300 เมตร







อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรทำให้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผ่านทะเลทั้งสองด้าน ฝนตกเกือบตลอดทั้งปี ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอากาศค่อนข้างเย็นและฤดูร้อนจะอยู่ระหว่างเดือนมกราคม-เดือนเมษายน อุณหภูมิโดยเฉลี่ยโดยประมาณ 26 องศา












ประวัติความเป็นมา ด้วยกรมป่าไม้ได้รับหนังสือของนายบุญส่ง ชำนาญกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2538 ว่าได้ไปตรวจเยี่ยมราษฎรและได้รับการร้องขอให้ดำเนินการปรับปรุง ป้องกันบริเวณน้ำตกหนานปลิว ตำบลหลวงเสน อำเภอทุ่งสง ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ และมีน้ำตกสวยงามราษฎรในท้องถิ่นให้การสนับสนุนและประสงค์จะให้มีการสงวนพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติซึ่งอธิบดีกรมป่าไม้ (นายจำนงค์ โพธิสาโร) ได้มีบันทึกลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2528 ให้กองอุทยานแห่งชาติพิจารณา และกองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือที่ กษ. 0713/1663 ลงวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2528 ให้หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาหลวง ทำการสำรวจสภาพพื้นที่บริเวณดังกล่าวต่อมา นายสัมพันธ์ ทองสมัคร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีหนังสือที่ ศธ. 0100/8 ลงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2529 ถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายณรงค์ วงค์วรรณ)ขอให้ประกาศพื้นที่เขาเหมนเป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร่งด่วน เนื่องจากป่าเขาเหมนมีความอุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่านานาชนิดมีทิวทัศน์สวยงามเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารถึง 8 สาย มีธารน้ำตกหลายชั้น โดยเฉพาะที่เรียกว่า“หนานปลิว” มีความสวยงามมาก ซึ่งท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้บันทึกสั่งการลงวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2529 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์(นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์) ให้กองอุทยานแห่งชาติไปดำเนินการตรวจสอบกองอุทยานแห่งชาติจึงได้มีหนังสือที่ กษ 0713/621 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 ให้หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขากลวงไปทำการตรวจสอบเบื้องต้นและได้รับรายงานการตรวจสอบตามหนังสือที่ กษ 0713 (ขล)/พิเศษ ลงวันที่16 ตุลาคม พ.ศ.2529 และที่ กษ 0713 (ขล)/11 ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2529 ว่าบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์มาก มีทิวทัศน์ และน้ำตกที่สวยงาม ควรอนุรักษ์ไว้เป็นอุทยานแห่งชาติกองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือที่ กษ 0713/4084 ลงวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2529 เสนอกรมป่าไม้ และกรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 1695/2529 ลงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2529ให้นายพรชัย เพชรพิมพันธ์ นักวิชาการป่าไม้ 3 ไปดำเนินการสำรวจและจัดตั้งบริเวณน้ำตกหนานปลิว และบริเวณใกล้เคียงในท้องที่เขตติดต่ออำเภอทุ่งสง อำเภอฉวาง อำเภอลานสกา และอำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้รับรายงานผลการสำรวจที่ กษ 0713(นป)/2 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 สรุปได้ว่าบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่ามากเป็นป่าต้นน้ำลำธารและมีพื้นที่ติดต่อวนอุทยานน้ำตกโยงด้วย เหมาะสมจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 1907/2529 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 ให้นายพรชัย เพชรพิมพันธ์ ทำหน้าที่หัวหน้าวนอุทยานน้ำตกโยง จังหวัดนครศรีธรรมราช อีกหน้าที่นึ่งด้วย เพื่อยกฐานะวนอุทยานน้ำตกโยงเป็นอุทยานแห่งชาติต่อไปและที่ประชุมผู้อำนวยการกองในสังกัดกรมป่าไม้ครั้งที่ 9/2530 ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2530 มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งบริเวณดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติได้ ขณะนี้ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ กำลังดำเนินการตรวจสอบและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการออกประกาศพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินป่าเขาเหมนป่าปลายคลองวังหีบ ป่าคลองปากแพรก และป่าน้ำตกโยง ในท้องที่ตำบลช้างกลางอำเภอฉวาง ตำบลนาบอน อำเภอนาบอน ตำบลนาหลวงเสน ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ประมาณ 126,675 ไร่ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงต่อไป และอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ได้ประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 127 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2534 มีเนื้อที่ตามประกาศ 128,125 ไร่
























อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง เป็นอุทยานแห่งชาติที่สำคัญเนื่องจากมีพื้นที่ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงทอดยาว มียอดสูงสลับซับซ้อนทำให้เกิดทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นป่าต้นน้ำลำธาร มีน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง ประกอบกับมีสภาพป่าดงดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ ดังนั้นจึงมีความสำคัญต่อวงจรชีวิตของพืช และสัตว์ป่า และสภาพแวดล้อมข้างเคียงด้วย












พ.ศ. 2528 กรมป่าไม้ได้รับหนังสือจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ได้ไปตรวจเยี่ยมราษฎร และได้รับการร้องขอให้ดำเนินการปรับปรุง ป้องกันบริเวณน้ำตกปลิว 1,2 ตำบลนาหลวงเสน อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ และมีน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง ราษฎรในพื้นที่ให้การสนับสนุนและประสงค์จะให้มีการอนุรักษ์พื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ
พ.ศ. 2529 นายสัมพันธ์ ทองสมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีหนังสือกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้ประกาศพื้นที่ป่าเขาพระสุเมรุ (เขาเหมน) เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร่งด่วน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ให้กรมป่าไม้ดำเนินการตรวจสอบบริเวณพื้นที่ป่าดังกล่าวปรากฎว่ามีสภาพป่าสมบูรณ์มาก เห็นควรอนุรักษ์ได้เป็นอุทยานแห่งชาติ












ส่วนราชการ เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ มีดังนี้ ที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง, ห้องพัสดุ, ห้องวิทยุ, ห้องประชุม, ลานจอดรถเจ้าหน้าที่และชุดม้านั่ง ส่วนบ้านพัก บ้านพักมีไว้สำหรับบริการนักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการและต้องการพักผ่อนหรือค้างคืน และบ้านพักที่มีไว้สำหรับเจ้าหน้าที่ ส่วนบริการและนัทนาการ ซึ่งสร้างความสะดวกและความสวยงาม และความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ ทั้งบุคคลภายในและภายนอกพื้นที่โครงการ เช่น ที่จอดรถ, โรงอาหาร, พื้นที่พักผ่อน, ห้องน้ำ, หอประชุม




อุยานแห่งชาติน้ำตกโยงแห่งนี้ถ้าใครได้มาเที่ยวนั่งพักผ่อนก็ไม่ผิดหวังอย่างแน่นอนและเป็นเขตที่เดินทางไปมาสะดวกสบาย











ตัวอย่าง: Scrip Format+ข่าวโทรทัศน์(ข่าวภาคสนาม)

ข่าวภาค : 12.30 น.
วันที่ :....../........./............ สถานะข่าว :PRV
หัวข้อข่าว : ........................ ลำดับที่ :.........................
ผู้สือ่ข่าว :..........................สายข่าว :........................
โปรดิวเซอร์ : (....................) บ.ก.ข่าว:(...................)
ช่างภาพ :........................ ตัดต่อ :(............................)
( ) ข่าวอ่าน ( ) ข่าวประกอบเสียง ความยาวโปรย_____ความยาวเทป________

ภาพ

เสียง

*ผู้สื่อข่าว (รายงาน)

*ซ้อนCG

สมบูรณ์ ใจกล้า

ผู้สื่อข่าว

* เทป -อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว)

*ซ้อน CG

นายปลอดประสพ สุขรัสวดี

อธิบดีกรมป่าไม้

*เทป-อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว)

*ซ้อน CG

นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

รมช.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

*เทป-อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว

หรือ

*ผู้สื่อข่าว (รายงาน)

*ซ้อน CG

สมชาย หอมละออ-ถ่ายภาพ

สมศรี คำนอก,สมรักษ์ คำเมือง,สมชาย คำถิ่น-ผู้สื่อข่าว

สมบูรณ์ ใจกล้า-รายงาน

โปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรย(พิมพ์ตัวหนา)

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

...................Insert เสียงแหล่งข่าว..........................

TC:00:01:55 เริ่มที่ " พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด"

TC:00:02:08 จบที่.....พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

...................Insert เสียงแหล่งข่าว..........................

TC:00:02:55 เริ่มที่ " พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด"

TC:00:03:08 จบที่.....พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด

เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี) ...สมชาย หอมละออ

-ถ่ายภาพ..สมศรี คำนอก,สมรักษ์ คำเมือง,สมชาย คำถิ่น-ผู้สื่อข่าว...สมบูรณ์ ใจกล้า-รายงาน