Saturday, January 6, 2007

สารคดีการท่องเที่ยวน้ำตกโยง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ผู้คนนิยมมาเที่ยวกันมากเป็นสานที่ที่โด่งดังทั่วประเทศ อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมากมีน้ำไหลตลอดทั้งปี เป็นน้ำตกที่มีหน้าผาสูงชันมีน้ำไหลลงมาเหมือนเกลียวเชือก ทำให้เกิดแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 30 เมตร ลึกประมาณ 10 เมตร มีชั้นน้ำตก 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสวยงามและร่มรื่นด้วยพรรณไม้มากมายของป่าดิบชื้นผสมป่าดิบเขา เช่น ยาง กระบาก ตะเคียน ก่อนก ก่อเดือย ตามพื้นป่ามีหวายและเฟินต้นที่ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ยังมีปลาอาศัยอยู่หลายชนิดโดยเฉพาะปลาแงะมีจำนวนมาก น้ำตกชั้นที่ 1 ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงประมาณ 300 เมตร









อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 8 องศา 09 /-8 องศา 21/เหนือ และอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 99 องศา 38/ - 99 องศา 50/ตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 128,125 ไร่ หรือประมาณ 205 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม พื้นที่ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกิ่งอำเภอช้างกลาง และอำเภอ ทิศใต้ ติดต่ออำเภอทุ่งสง ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอลานสกา ทิศตะวันตก ติดต่ออำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอช้างกลาง น้ำตกโยงเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมากมีน้ำไหลตลอดทั้งปี เป็นน้ำตกที่มีหน้าผาสูงชันมีน้ำไหลลงมาเหมือนเกลียวเชือก ทำให้เกิดแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 30 เมตร ลึกประมาณ 10 เมตร มีชั้นน้ำตก 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสวยงามและร่มรื่นด้วยพรรณไม้มากมายของป่าดิบชื้นผสมป่าดิบเขา เช่น ยาง กระบาก ตะเคียน ก่อนก ก่อเดือย ตามพื้นป่ามีหวายและเฟินต้นที่ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ยังมีปลาอาศัยอยู่หลายชนิดโดยเฉพาะปลาแงะมีจำนวนมาก น้ำตกชั้นที่ 1 ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงประมาณ 300 เมตร







อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรทำให้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผ่านทะเลทั้งสองด้าน ฝนตกเกือบตลอดทั้งปี ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอากาศค่อนข้างเย็นและฤดูร้อนจะอยู่ระหว่างเดือนมกราคม-เดือนเมษายน อุณหภูมิโดยเฉลี่ยโดยประมาณ 26 องศา












ประวัติความเป็นมา ด้วยกรมป่าไม้ได้รับหนังสือของนายบุญส่ง ชำนาญกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2538 ว่าได้ไปตรวจเยี่ยมราษฎรและได้รับการร้องขอให้ดำเนินการปรับปรุง ป้องกันบริเวณน้ำตกหนานปลิว ตำบลหลวงเสน อำเภอทุ่งสง ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ และมีน้ำตกสวยงามราษฎรในท้องถิ่นให้การสนับสนุนและประสงค์จะให้มีการสงวนพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติซึ่งอธิบดีกรมป่าไม้ (นายจำนงค์ โพธิสาโร) ได้มีบันทึกลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2528 ให้กองอุทยานแห่งชาติพิจารณา และกองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือที่ กษ. 0713/1663 ลงวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2528 ให้หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาหลวง ทำการสำรวจสภาพพื้นที่บริเวณดังกล่าวต่อมา นายสัมพันธ์ ทองสมัคร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีหนังสือที่ ศธ. 0100/8 ลงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2529 ถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายณรงค์ วงค์วรรณ)ขอให้ประกาศพื้นที่เขาเหมนเป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร่งด่วน เนื่องจากป่าเขาเหมนมีความอุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่านานาชนิดมีทิวทัศน์สวยงามเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารถึง 8 สาย มีธารน้ำตกหลายชั้น โดยเฉพาะที่เรียกว่า“หนานปลิว” มีความสวยงามมาก ซึ่งท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้บันทึกสั่งการลงวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2529 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์(นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์) ให้กองอุทยานแห่งชาติไปดำเนินการตรวจสอบกองอุทยานแห่งชาติจึงได้มีหนังสือที่ กษ 0713/621 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 ให้หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขากลวงไปทำการตรวจสอบเบื้องต้นและได้รับรายงานการตรวจสอบตามหนังสือที่ กษ 0713 (ขล)/พิเศษ ลงวันที่16 ตุลาคม พ.ศ.2529 และที่ กษ 0713 (ขล)/11 ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2529 ว่าบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์มาก มีทิวทัศน์ และน้ำตกที่สวยงาม ควรอนุรักษ์ไว้เป็นอุทยานแห่งชาติกองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือที่ กษ 0713/4084 ลงวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2529 เสนอกรมป่าไม้ และกรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 1695/2529 ลงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2529ให้นายพรชัย เพชรพิมพันธ์ นักวิชาการป่าไม้ 3 ไปดำเนินการสำรวจและจัดตั้งบริเวณน้ำตกหนานปลิว และบริเวณใกล้เคียงในท้องที่เขตติดต่ออำเภอทุ่งสง อำเภอฉวาง อำเภอลานสกา และอำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้รับรายงานผลการสำรวจที่ กษ 0713(นป)/2 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 สรุปได้ว่าบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่ามากเป็นป่าต้นน้ำลำธารและมีพื้นที่ติดต่อวนอุทยานน้ำตกโยงด้วย เหมาะสมจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 1907/2529 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 ให้นายพรชัย เพชรพิมพันธ์ ทำหน้าที่หัวหน้าวนอุทยานน้ำตกโยง จังหวัดนครศรีธรรมราช อีกหน้าที่นึ่งด้วย เพื่อยกฐานะวนอุทยานน้ำตกโยงเป็นอุทยานแห่งชาติต่อไปและที่ประชุมผู้อำนวยการกองในสังกัดกรมป่าไม้ครั้งที่ 9/2530 ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2530 มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งบริเวณดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติได้ ขณะนี้ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ กำลังดำเนินการตรวจสอบและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการออกประกาศพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินป่าเขาเหมนป่าปลายคลองวังหีบ ป่าคลองปากแพรก และป่าน้ำตกโยง ในท้องที่ตำบลช้างกลางอำเภอฉวาง ตำบลนาบอน อำเภอนาบอน ตำบลนาหลวงเสน ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ประมาณ 126,675 ไร่ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยงต่อไป และอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ได้ประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 127 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2534 มีเนื้อที่ตามประกาศ 128,125 ไร่
























อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง เป็นอุทยานแห่งชาติที่สำคัญเนื่องจากมีพื้นที่ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงทอดยาว มียอดสูงสลับซับซ้อนทำให้เกิดทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นป่าต้นน้ำลำธาร มีน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง ประกอบกับมีสภาพป่าดงดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ ดังนั้นจึงมีความสำคัญต่อวงจรชีวิตของพืช และสัตว์ป่า และสภาพแวดล้อมข้างเคียงด้วย












พ.ศ. 2528 กรมป่าไม้ได้รับหนังสือจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ได้ไปตรวจเยี่ยมราษฎร และได้รับการร้องขอให้ดำเนินการปรับปรุง ป้องกันบริเวณน้ำตกปลิว 1,2 ตำบลนาหลวงเสน อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ และมีน้ำตกที่สวยงามหลายแห่ง ราษฎรในพื้นที่ให้การสนับสนุนและประสงค์จะให้มีการอนุรักษ์พื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ
พ.ศ. 2529 นายสัมพันธ์ ทองสมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีหนังสือกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้ประกาศพื้นที่ป่าเขาพระสุเมรุ (เขาเหมน) เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร่งด่วน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ให้กรมป่าไม้ดำเนินการตรวจสอบบริเวณพื้นที่ป่าดังกล่าวปรากฎว่ามีสภาพป่าสมบูรณ์มาก เห็นควรอนุรักษ์ได้เป็นอุทยานแห่งชาติ












ส่วนราชการ เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ มีดังนี้ ที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง, ห้องพัสดุ, ห้องวิทยุ, ห้องประชุม, ลานจอดรถเจ้าหน้าที่และชุดม้านั่ง ส่วนบ้านพัก บ้านพักมีไว้สำหรับบริการนักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการและต้องการพักผ่อนหรือค้างคืน และบ้านพักที่มีไว้สำหรับเจ้าหน้าที่ ส่วนบริการและนัทนาการ ซึ่งสร้างความสะดวกและความสวยงาม และความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ ทั้งบุคคลภายในและภายนอกพื้นที่โครงการ เช่น ที่จอดรถ, โรงอาหาร, พื้นที่พักผ่อน, ห้องน้ำ, หอประชุม




อุยานแห่งชาติน้ำตกโยงแห่งนี้ถ้าใครได้มาเที่ยวนั่งพักผ่อนก็ไม่ผิดหวังอย่างแน่นอนและเป็นเขตที่เดินทางไปมาสะดวกสบาย











ตัวอย่าง: Scrip Format+ข่าวโทรทัศน์(ข่าวภาคสนาม)

ข่าวภาค : 12.30 น.
วันที่ :....../........./............ สถานะข่าว :PRV
หัวข้อข่าว : ........................ ลำดับที่ :.........................
ผู้สือ่ข่าว :..........................สายข่าว :........................
โปรดิวเซอร์ : (....................) บ.ก.ข่าว:(...................)
ช่างภาพ :........................ ตัดต่อ :(............................)
( ) ข่าวอ่าน ( ) ข่าวประกอบเสียง ความยาวโปรย_____ความยาวเทป________

ภาพ

เสียง

*ผู้สื่อข่าว (รายงาน)

*ซ้อนCG

สมบูรณ์ ใจกล้า

ผู้สื่อข่าว

* เทป -อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว)

*ซ้อน CG

นายปลอดประสพ สุขรัสวดี

อธิบดีกรมป่าไม้

*เทป-อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว)

*ซ้อน CG

นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

รมช.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

*เทป-อ่านต่อ

(Insertภาพข่าว

หรือ

*ผู้สื่อข่าว (รายงาน)

*ซ้อน CG

สมชาย หอมละออ-ถ่ายภาพ

สมศรี คำนอก,สมรักษ์ คำเมือง,สมชาย คำถิ่น-ผู้สื่อข่าว

สมบูรณ์ ใจกล้า-รายงาน

โปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรยโปรย โปรยโปรย(พิมพ์ตัวหนา)

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

...................Insert เสียงแหล่งข่าว..........................

TC:00:01:55 เริ่มที่ " พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด"

TC:00:02:08 จบที่.....พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด

เนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อเนื้อ

...................Insert เสียงแหล่งข่าว..........................

TC:00:02:55 เริ่มที่ " พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด"

TC:00:03:08 จบที่.....พูดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด

เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี)เนื้อปิดจบ(ถ้ามี) ...สมชาย หอมละออ

-ถ่ายภาพ..สมศรี คำนอก,สมรักษ์ คำเมือง,สมชาย คำถิ่น-ผู้สื่อข่าว...สมบูรณ์ ใจกล้า-รายงาน